Gold Monthly Analysis of August, 2022
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Ut elit tellus, luctus nec ullamcorper mattis, pulvinar dapibus leo.
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Ut elit tellus, luctus nec ullamcorper mattis, pulvinar dapibus leo.
สำหรับปัจจัยที่น่าจับตาในเดือนนี้ มี อยู่ 3 เรื่องหลักคือ ผลกระทบจากสงครามรัสเซีย ยูเครน นำมาสู่มาตรการคว่ำบาตรระหว่างชาติตะวันตกและรัสเซีย เกิดเป็นวิกฤตอาหาร และ วิกฤตพลังงาน นโยบายการเงินของธนาคารกลาง FED ECB / ความเสี่ยง Recession อัตราเงินเฟ้อของสหรัฐและทั่วโลก ช่วงเดือนที่ผ่านมาทองคำเคลื่อนไหว Sideway ไม่กว้างมากนักเพียง 1878 – 1802 หรือราวๆ 76 เหรียญโดยประมาณ โดยส่วนใหญ่มักจะถูกกดดันด้านลบจากนโยบายการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเฟดเป็นหลัก โดยเดือนที่ผ่าน FED มีมติขึ้นอัตราดอกเบี้ย 75 bps. ถือเป็นการเคลื่อนไหวที่มากที่สุดนับตั้งแต่ปี 1994 ซึ่งเฟดเองก็มิได้ชี้ชัดมากนักว่าการประชุมครั้งถัดไปจะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย 75 bps….
สำหรับปัจจัยที่น่าจับตาในเดือนนี้ มี อยู่ 5 เรื่องหลักคือ FED เริ่มลด Balance Sheet เดือนละ $47.5 Bn ประชุม FOMC คาดขึ้นดอกเบี้ย 0.50% ติดตามถ้อยแถลง + New Dot Plot ประชุม BOE คาดขึ้นดอกเบี้ย 0.25% แนวโน้มอัตราเงินฟ้อที่ยังอยู่ระดับสูงทั่วโลก วิกฤตอาหาร วิกฤตพลังงาน สงครามรัสเซีย – ยูเครน / ฟินแลนด์ สวีเดน สมัครเข้านาโต้ มาตรการคว่ำบาตรที่ ฝั่งตะวันตก NATO ปฏิบัติต่อรัสเซีย และรัสเซีย…
สำหรับปัจจัยที่น่าจับตาในเดือนนี้ มี อยู่ 4 เรื่องหลักคือ ผลการประชุม FOMC / BOE สื่อสหรัฐเตือน 9 พ.ค.ควรระวังรัสเซียประกาศเผด็จศึกยูเครนเต็มรูปแบบ อัตราเงินเฟ้อ / ราคาน้ำมัน ความพยายามจะเข้านาโต้ของฟินแลนด์ สวีเดน จะเป็นชนวนใหม่หรือไม่ เดือนนี้ถือว่าเป็นเดือนสำคัญที่สุดของเฟดเลยก็ว่าได้ในเริ่มตัดสินใจที่ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายแบบ Aggressive ที่สุดเท่าที่นายเจโรม พาวเวล เคยกระทำมา คือ 0.50% หรือ 0.75% ซึ่งตลาดส่วนใหญ่ยังคาดการณ์และให้น้ำหนักไปที่การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย 0.50% ในรอบนี้ และหากจะมีการเปิดเผยแผนการลด Balance Sheet ตลาดยังคงเชื่อว่าเฟดจะเริ่มปรับลดที่ระดับ $95 bn ต่อเดือน โดยแบ่งออกเป็น Treasuries…
สำหรับปัจจัยที่น่าจับตาในเดือนนี้ มี อยู่ 3 เรื่องหลักคือ การเจรจาสันติภาพระหว่างรัสเซีย ยูเครน มาตรการคว่ำบาตรสหรัฐ และ ฝั่งตะวันตก รวมถึง Deadline ที่รัสเซียจะให้ชาติที่ไม่เป็นมิตรจ่ายค่าพลังงงานเป็นสกุลเงินรูเบิล แทนยูโร และดอลลาร์ ราคาพลังงาน อัตราเงินเฟ้อสหรัฐ ยุโรป ทั่วโลก นโยบายการเงินของ ECB และการรายงานผลการประชุม FED เพิ่มเติม เราเคยเห็นทองคำปรับตัวพุ่งแรงอย่างต่อเนื่องมาแล้ว 2 สัปดาห์ติดต่อกันนับตั้งแต่ปลายเดือน ก.พ.ที่รัสเซียใช้ปฏิบัติการพิเศษทางทหารเข้าจู่โจมยูเครน ทำลายโครงสร้างพื้นฐาน คลังเก็บอาวุธ โรงพยาบาล อาคารบ้านเรือนเกิดความเสียหาย สหรัฐและชาติตะวันตกส่งอาวุธยุทธโปกรณ์ไปยังยูเครนอย่างไม่ขาดสาย รวมถึงคว่ำบาตรรัสเซียหนักขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งประกาศปิดกั้นการเข้าถึงระบบเงินทุนสำรองให้ถูกแช่แข็งไปเกือบ 3 แสนล้านดอลลาร์…
สำหรับปัจจัยที่น่าจับตาในเดือนนี้ มี อยู่ 3 เรื่องหลักคือ สถานการณ์ความตึงเครียดระหว่างรัสเซีย ยูเครน จนมาถึงมาตรการคว่ำบาตรจากสหรัฐ และ ชาติพันธมิตรตะวันตก นโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐและธนาคารกลาอื่นๆ อัตราเงินเฟ้อ สงครามรัสเซีย ยูเครนจะจบลงแบบใดยังไม่เป็นทราบแน่ชัด แต่ที่แน่ชัดคือทองคำถูกเลือกให้เป็น Save Haven ทุกครั้งเมื่อสถานการณ์เข้าสู่ภาวะคับขันอย่างที่เคยเห็นกันมาแล้วเมื่อครั้งเกิดการระบาดของโควิด 19 นำมาสู่การ Lockdown ปิดประเทศ เหมืองทองได้รับผลกระทบ ทองคำดีดตัวทันที วันเดียวเกือบ …… เหรียญ ครั้งนี้ก็เช่นเดียวกัน เช้าวันที่ 24 ก.พ ปธน.ปูติน มีคำสั่งปฏิบัติการพิเศษทางการทหารโจมตีไซเบอร์ และทิ้งบอมด์ถล่มสาธารณูปโภคของยูเครน ขณะที่ทั่วโลกกำลังเกาะติดสถานการณ์ข่าวอย่างใกล้ชิด ทองคำก็ไม่ได้รีรอดีดตัวขึ้นอย่างรวดเร็วเพียงเวลาไม่ถึงวันบวกถึง….. เหรียญเลยทีเดียว ก่อนทิ้งตัวลง…. และปิด……
สำหรับปัจจัยที่น่าจับตาในเดือนนี้ มี อยู่ 5 เรื่องหลักคือ ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด 19 สายพันธุ์เดลต้า และโอไมครอน อัตราเงินเฟ้อทั่วโลก โดยเฉพาะสหรัฐ ความตรึงเครียดระหว่างรัสเซีย และ ยูเครน นโยบายการเงินธนาคารสำคัญ เช่น ECB BOE / FED Minute สหรัฐถึงกำหนดจะต้องนำร่างพระราชบัญญัติงบประมาณสหรัฐลงมติ เพื่อหลีกเลี่ยง Shutdown ช่วงเดือนที่ผ่านมา ทองคำถูกกดดันด้านลบจากกระแสการคาดการณ์แนวโน้มนโยบายการเงินของเฟดเป็นหลัก ท่ามกลางอัตราเงินเฟ้อพุ่งสูงสุดเป็นประวัติการณ์โดยเฉพาะในสหรัฐที่แตะระดับ 7% สูงสุดในรอบ 40 ปี สหภาพยุโรปราวๆ 5% สูงสุดในรอบ 30 ปี จากแรงขับเคลื่อนหลายประการ…
สำหรับปัจจัยที่น่าจับตาในเดือนนี้ มี อยู่ 3 เรื่องหลักคือ 1.ความเสี่ยงของการระบาดของโควิดสายพันธุ์โอไมครอน ต่อมาตรการล๊อกดาวน์ 2.แนวโน้มอัตราเงินเฟ้อที่พุ่งขึ้น 3.เฟดเริ่มเพิ่มวงเงิน QE Tapering จาก $15bn ต่อเดือนเป็น $30bn ต่อเดือน ท่ามกลางการระบาดของโควิด 19 สายพันธุ์เดลต้า ต่อ ด้วยสายพันธุ์โอไมครอนที่มีการแพร่ระบาดได้เร็วกว่าสายพันธุ์เดิมหลายเท่า แม้ความรุนแรงจะน้อยกว่าจนไม่เกิดการ Lockdown ทั้งประเทศแบบเมื่อปีที่ผ่านๆมา เนื่องด้วยการเข้าถึงวัคซีนในปริมาณที่มากขึ้น มีการ Booster dose มีการวิจัยและพัฒนาวัคซีนอย่างต่อเนื่อง ประชากร นักธุรกิจมีการปรับตัว เรียนรู้เพื่อจะอยู่ร่วมกับ CV19 ก็ตาม แต่อย่าลิมว่าสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วก่อนหน้าคือ…
สำหรับปัจจัยที่น่าจับตาในเดือนนี้ มี อยู่ 5 เรื่องหลักคือ 14-15 ธ.ค. เฟดจะมีการปรับนโยบายการเงินให้เข้มงวดมากขึ้นหรือไม่ 15 ธ.ค. Deadline US Debt Ceiling + งบ $1.75 ล้านล้าน วันที่ 2 ธ.ค. OPEC+ จะมีมาตรการตอบโต้การปล่อยน้ำมันจากคลังยุทธศาสตร์ ของสหรัฐและประเทศร่วมอื่น ๆ หรือไม่ อย่างไร 4. การแพร่ระบาดของไวรัสสายพันธุ์ โอไมครอน อัตราเงินเฟ้อสหรัฐและทั่วโลก ปัจจัยที่น่าเป็นกังวลมากที่สุดในช่วงเดือน ธันวาคม คงหนี้ไม่พ้น กระแสข่าวที่ว่า ประธานเฟดนายเจโรม พาวเวล กล่าวว่า…
ปัจจัยที่น่าจับตาเดือนนี้ สำหรับปัจจัยที่น่าจับตาในเดือนนี้ มี อยู่ 4 เรื่องหลักคือ การประชุมเฟดเพื่อกำหนดนโยบายการเงิน งบประมาณกระตุ้นเศรษฐกิจสหรัฐ การประชุม OPEC+ 4. แนวโน้มอัตราเงินเฟ้อที่เร่งตัวสูงขึ้น ปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่อาจเปลี่ยนถ้อยแถลงของประธานเฟดจากที่ตลาดคาดหวังอาจมิใช่ความเหมาะสมของช่วงเวลาหรือตัวเลขตลาดแรงงานเพียงอย่างเดียวแต่อาจหมายรวมถึงอัตราเงินเฟ้อที่ทะลุเป้าหมายของสหรัฐ 2% โดยเฉลี่ย ปจบ.ก็อยู่ราว ๆ 5% กว่าๆ ขณะที่ผู้นำสหรัฐไม่ว่าจะเป็นคุณเจโรม พาวเวล / รมว.คลัง คุณเจเน็ต เยเลน ก็ยังคงมีมุมมองว่าอัตราเงินเฟ้อเกินเป้าหมายจะเกิดขึ้นเพียงชั่วคราวจากปัญหาคอขวดจากการกลับมาเปิดเศรษฐกิจใหม่ ประธานเฟด แย้งว่าอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยที่แข็งค่าขึ้นในสหรัฐอเมริกานั้นถูกฉุดขึ้นมาด้วยเพียงไม่กี่รายการเท่านั้น เช่น ราคารถยนต์และรถบรรทุกมือสองซึ่งเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วอย่างน่าอัศจรรย์ รวมถึงราคาน้ำมัน ขณะที่ Harmonized Consumer Price Index สถิติเดือน ก.ย….